5 Simple Statements About สังคมผู้สูงอายุ Explained

ทางออกวิกฤตราคาโกโก้ไทย “ศูนย์นวัตกรรมการวิจัยและพัฒนาโกโก้ไทยเพื่อความยั่งยืน จุฬาฯ” เติมหวังให้เกษตรกรและธุรกิจโกโก้ไทย

รายงานวิจัยฉบับนี้จัดทำเพื่อเผยแพร่ทั่วไป โดยจัดทำขึ้นจากแหล่งข้อมูลต่างๆ ที่น่าเชื่อถือ แต่บริษัทฯ มิอาจรับรองความถูกต้อง ความน่าเชื่อถือ หรือความสมบูรณ์เพื่อใช้ในทางการค้าหรือประโยชน์อื่นใด บริษัทฯ อาจมีการเปลี่ยนแปลงข้อมูลได้ตลอดโดยไม่ต้องแจ้งให้ทราบล่วงหน้า ทั้งนี้ผู้ใช้ข้อมูลต้องใช้ความระมัดระวังในการใช้ข้อมูลต่างๆ ด้วยวิจารณญาณตนเองและรับผิดชอบในความเสี่ยงเองทั้งสิ้น บริษัทฯ จะไม่รับผิดต่อผู้ใช้หรือบุคคลใดในความเสียหายใดจากการใช้ข้อมูลดังกล่าว ข้อมูลในรายงานฉบับนี้จึงไม่ถือว่าเป็นการให้ความเห็น หรือคำแนะนำในการตัดสินใจทางธุรกิจ แต่อย่างใดทั้งสิ้น

เว็บไซต์นี้ใช้คุกกี้ เพื่อมอบประสบการณ์การใช้งานที่ดีให้กับท่าน และเพื่อพัฒนาคุณภาพการให้บริการเว็บไซต์ที่ตรงต่อความต้องการของท่านมากยิ่งขึ้น ท่านสามารถทราบรายละเอียดเกี่ยวกับคุกกี้ได้ที่ นโยบายการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล และท่านสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

“ในประเทศไทย เราไม่มีกระบวนการช่วยเหลือผู้สูงอายุในทางอื่นมากนัก การมีลูกจึงเท่ากับการมีหลักประกันของคุณภาพชีวิตในยามสูงวัย ในด้านรายได้ ผู้สูงอายุที่ไม่ได้ทำงานแล้วและมีลูกก็ยังมีลูกให้พึ่งพาได้ ในด้านสุขภาพ ผู้สูงอายุที่มีลูกก็อาจมีสุขภาพดีกว่าคนไม่มี เพราะมีคนคอยดูแล และพาไปโรงพยาบาล และสุดท้าย ในด้านสังคม การมีลูกยังทำให้ผู้สูงอายุรู้สึกยังมีส่วนร่วมในสังคม ทำให้รู้จักเพื่อนบ้านที่มีลูกเล่นด้วยกันหรือครอบครัวของเพื่อนลูก การมีลูกจึงเป็นปัจจัยสำคัญของความสุข ผิดกับโลกตะวันตกที่ผู้สูงอายุยังพอมีรายได้ พอดูแลตัวเองได้ หรือไม่ก็ได้รับสวัสดิการรัฐโดยไม่ต้องพึ่งบุตรหลาน การมีหรือไม่มีลูกจึงไม่ใช่เงื่อนไขของความสุขในชีวิต” รศ.

หน่วยยุทธศาสตร์และบริหารความเสี่ยง

เพราะผู้สูงอายุเริ่มมีร่างกายที่อ่อนแอ อวัยวะต่าง ๆก็เสื่อมถอยลงไปตาลกาลเวลา อาการเจ็บป่วยจึงเข้ามารุมเร้า ด้วยเหตุนี้นักวิจัยไทยจึงเร่งคิดค้นนวัตกรรมเพื่อให้ชีวิตความเป็นอยู่ของผู้สูงอายุดีขึ้น สามารถต่อสู้กับโรคภัยไข้เจ็บ ความเสื่อมถอยของร่างกายได้อย่างมีความสุขยิ่งขึ้น

จุฬาฯ มีลักษณะของความเป็นพี่น้อง ความอบอุ่น เป็นสังคมที่อยากอนุรักษ์ไว้

จุฬาฯ น่าเที่ยว! เปิดพิกัดเที่ยวเพลินในจุฬาฯ ชมสถาปัตยกรรม พิพิธภัณฑ์ และดนตรี

บทบาทหน้าที่ของลูกหลานจึงจำเป็นสำหรับสังคมผู้สูงอายุไทย นอกจากจะเป็นการแสดงความกตัญญูกตเวทีของคนรุ่นลูกรุ่นหลานแล้ว รายได้ของบุตรยังแบ่งเบาภาระค่าใช้จ่ายในการดูแลตัวเองของคนรุ่นพ่อแม่ได้ด้วย ที่สำคัญคือ รายได้เหล่านี้จะช่วยคลายความกังวลใจให้แก่ผู้อาวุโสในครอบครัว และย้ำว่าพวกท่านยังมีตัวตนในบ้าน มีลูกหลานคอยเอาใจใส่ มีชุมชนเล็ก ๆ ในบ้าน โดยมีท่านเป็นผู้อาวุโสในครอบครัวหรือตระกูล ซึ่งเป็นปัจจัยหนึ่งของสูตรความสุขตามความหมายเชิงเศรษฐศาสตร์

Articles highlighting – users can choose to emphasise important components like backlinks and titles. They could also decide on to focus on centered or hovered features only.

อดีตมาร์เก็ตติ้งทิ้งยอดขาย สู่ชีวิตเรียบง่ายสไตล์ออแกนิค

ศ. ดร.วรเวศม์ สุวรรณระดา อาจารย์ประจำคณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ซึ่งวิจัยในประเด็นสังคมสูงวัยมาอย่างยาวนาน ได้ชี้ให้เห็นว่า การพัฒนาคุณภาพชีวิตที่ดีของผู้สูงอายุ จำเป็นต้องยึดผู้สูงอายุเป็นตัวตั้ง โดยการออกแบบนโยบายผู้สูงอายุต้องอยู่บนพื้นฐานความเข้าใจในผู้สูงอายุแต่ละกลุ่มที่มีปัญหาและความต้องการที่แตกต่างกัน และให้ผู้สูงอายุมีส่วนร่วมในการแก้ปัญหานั้น โดยต้องเป็นนโยบายที่สอดประสานกัน เพื่อทำให้ผู้สูงอายุมีคุณภาพชีวิตที่ดีในมิติต่าง ๆ ตลอดจนต้องเน้นให้ผู้สูงอายุและสังคมปรับเปลี่ยนทัศนคติต่อผู้สูงอายุ ว่ายังสามารถช่วยเหลือตัวเองและสังคมได้ การแก่ตัวลงเป็นแค่อีกช่วงหนึ่งของชีวิต แก่แล้วไม่จำเป็นต้องอ่อนแอหรือพึ่งพาคนอื่นเสมอไป โดยสามารถดูแลสุขภาพ และทำประโยชน์ต่อครอบครัวและสังคมได้

“หากอยู่อาศัยกับบุตรหลานโดยตรง ผู้สูงอายุมักจะไม่ได้รับเงินจากบุตรหลานมากนัก แต่จะได้รับการดูแลอย่างใกล้ชิดแทน ตรงข้ามกับผู้สูงอายุที่อาศัยอยู่ลำพังที่จะได้รับเงินจากบุตรหลาน แต่ขาดการดูแลอย่างใกล้ชิด ซึ่งถือเป็นเรื่องปกติ สังคมผู้สูงอายุ เพราะบุตรหลานอยู่ไกลจากพ่อแม่ การถ่ายโอนเงินและเวลาในครอบครัวสะท้อนถึงค่านิยมเรื่องของความกตัญญู” รศ.ดร.นพพล เผย

สุดท้าย เราอาจต้องเตรียมทำงานนานขึ้น...หากออมไม่พอใช้​

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *